กฐิน

คำอปโลกน์กฐิน แบบบาลี

( รูปที่ ๑ ว่า )
อิทานิ โข ภันเต. อิทัง สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง สังฆัสสะ กะฐินัตถาราระหะกาเลเยวะ
อุปปันนัง อีทิเส จะ กาเล เอวัง อุปปันเนนะ ทุสเสนะ กะฐินัตถาโร วัสสัง วุตถานัง ภิกขูนัง
ภะคะวะตา อะนุญญาโต เยนะ อากังขะมานัสสะ สังฆัสสะ ปัญจะ กัปปิสสันติ.
อะนามันตะจาโร อะสะมาทานะจาโร คะณะโภชะนัง ยาวะทัตถะจีวะรัง โย จะ ตัตถะ
จีวะรุปปาโท โส เนสัง ภะวิสสะติ. จะตูสุปิ เหมันติเกสุ มาเสสุ จีวะระกาโลมะหันตีกะโต
ภะวิสสะติ. อิทานิ ปะนะ สังโฆ อากังขะติ นุ โข กะฐินัตถารัง อุทาหุ นากังขะติ.
สงฆ์พึงรับพร้อมกันว่า “อากังขามะ ภันเต” ผู้แก่พรรษากว่าพึงรับเพียง “อากังขามะ

( รูปที่ ๒ ว่า)
โสโข ปะนะ ภันเต กะฐินัตถาโร ภะคะวะตา ปุคคะลัสสะ อัตถาระวะเสเนวะ
อะนุญญาโตนาญญัตตะระ ปุคคะลัสสะ อัตถารา อัตถะตัง โหติ กะฐินันติ หิ วุตตัง
ภะคะวะตา. นะสังโฆ วา คะโณ วา กะฐินัง อัตถะระติ. สังฆัสสะ จะ คะณัสสะ จะ
สามัคคิยา ปุคคะลัสเสวะ อัตถารา. สังฆัสสะปิ คะณัสสะปิ ตัสเสวะ ปุคคะลัสสะปิ
อัตถะตัง โหติกะฐินัง. อิทานิ กัสสิมัง กะฐินะทุสสัง ทัสสามะ กะฐินัง อัตถะริตุง
โย ชิณณะจีวะโรวา ทุพพะละจีวะโร วา โย วา ปะนะ อุสสะหิสสะติ อัชเชวะ
จีวะระกัมมัง นิฏฐาเปตวาสัพพะวิธานัง อะปะริหาเปตวา กะฐินัง อัตถะริตุง สะมัตโถ ภะวิสสะติ.
สงฆ์พึงนั่งนิ่งเสีย

( รูปที่๓ ว่า )
อิธะอัมเหสุ อายัสมา (ถาวะโร) สัพพะมะหัลละโก พะหุสสุโต ธัมมะธะโร วินะยะธะโร
สะพระหมะจารีนัง สันทัสสะโก สะมาทะปะโก สะมุตเตชะโก สัมปะหังสะโก พะหุนนัง
อาจะริโย (วา อุปัชฌาโย วา) หุตวา โอวาทะโก อะนุสาสะโก สะมัถโถ จะ ตัง ตัง
วินะยะกัมมัง อะวิโกเปตวา กะฐินัง อัตถะริตุง มัญญามะหะเมวัง สัพโพยัง สังโฆ
อิมังสะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง อายัสมะโต (ถาวะรัสสะ) ทาตุกาโม. ตัสมิง กะฐินัง
อัตถะรันเต สัพโพยัง สังโฆ สัมมะเทวะอะนุโมทิสสะติ. อายัสมะโต (ถาวะรัสเสวะ)
อิมัง สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง ทาตุงรุจจะติ วา โน วา สัพพัสสิมัสสะ สังฆัสสะ.
สงฆ์พึงรับพร้อมกันว่า “รุจจะติ ภันเต”

( รูปที่ ๔ ว่า )
ยะทิอายัสมะโต (ถาวะรัสสะ ) อิมัง สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง ทาตุง.สัพพัสสิมัสสะ
สังฆัสสะ รุจจะติ สาธุ ภันเต สังโฆ อิมัง กะฐินะทุสสะปะริวาระภูตัง ติจีวะรัง
วัสสาวาสิกัฏฐิติกายะ อะคาเหตวาอายัสมะโต (ถาวะรัสเสวะ) อิมินา อะปะโลกะเนนะ
ทะทาตุ. กะฐินะทุสสังปะนะอะปะโลกะเนนะ ทิยยะมานังปิ นะ รูหะติ. ตัสมา ตัง อิทานิ
ญัตติทุติเยนะ กัมเมนะอะกุปเปนะ ฐานาระเหนะ อายัสมะโต (ถาวะรัสสะ ) เทมาติ
กัมมะสันนิฏฐานัง กะโรตุ.
สงฆ์พึงรับพร้อมกันว่า “สาธุ ภันเต

หมายเหตุ
ในวงเล็บ เปลี่ยนตามฉายา ขอพระผู้รับกฐิน ในที่นี้ มีฉายาว่า (ถาวะโร) เป็นอาทิ
การเปลี่ยน คำ ท้ายฉายา เช่น ถาวะโร เปลี่ยนเป็น ถาวะร ก่อน
แล้วเติมคำตามหลังเช่น
ถาวะร + อัสสะ เป็น ถาวรัสสะ ผะละปุญญ เป็น ผะละปุญญัสสะ
ถาวะร + อัสเสวะ เป็น ถาวรัสสัสเสวะ ผะละปุญญ เป็น ผะละปุญญัสเสวะ เป็นต้น
อนึ่ง ในวงเล็บว่า (วา อุปัชฌาโย วา) ของผู้สวดองค์ที่ ๓ ถ้าไม่มีพระอุปัชฌาย์อยู่ด้วย ตัดทิ้งไปก็ได้

ญัตติทุติยกรรมวาจา
( คือผู้สวดญัติ สองรูป )
กล่าวนะโม ๕ ชั้น ดังนี้
๑.นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ (หยุด)
๒.ภะคะวะโตอะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (หยุด)
๓.นะโมตัสสะ ภะคะวะโต.(หยุด)
๔.อะระหะโตสัมมาสัม (หยุด)
๕.สัมพุทธัสสะ.(หยุด)
“สุณาตุ เม ภันเตสังโฆ. อิทัง สังฆัสสะ กะฐินะทุสสัง อุปปันนัง ยะทิ
สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง สังโฆอิมัง กะฐินะทุสสัง อายัสมะโต (ถาวะรัสสะ)
ทะเทยยะ กะฐินัง อัตถะริตุง เอสา ญัตติ.
สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ อิทัง สังฆัสสะกะฐินะทุสสัง อุปปันนัง สังโฆ
อิมัง กะฐินะทุสสัง อายัสมะโต (ถาวะรัสสะ ) เทติกะฐินัง อัตถะริงตุง.
ยัสสายัสมะโต ขะมะติ อิมัสสะ กะฐินะทุสสัสะ อายัสมะโต(ถาวะรัสสะ)
ทานัง กะฐินัง อัตถะริตุง โส ตุณหัสสะ ยัสสะ นะ ขะมาะติ โส ภาเยยยะทินนัง
อิทัง สังเฆนะ กะฐินะทุสสัง อายัสมะโต (ถาวะรัสสะ) กะฐินัง อัตถะริตุงขะมะติ
สังฆัสสะ ตัสมา ตุณหี เอวะเมตัง ธาระยามิ”

( ขอบคุณ..http://www.watasokaram.com/board/simple/?t482.html )

เสียงอปโลกน์กฐิน แบบบาลี

อปโลกน์กฐินรูปที่ 2 ( แบบบาลี )

ญัตติทุติยกรรมวาจา - คู่สวด
 
 
 


1 ความคิดเห็น: